Merlin's Solutions International | EA
26
bp-legacy,archive,tag,tag-ea,tag-26,ajax_fade,page_not_loaded,,qode-theme-ver-9.1.2,wpb-js-composer js-comp-ver-4.9.2,vc_responsive

EA Tag

AGILE Enterprise Architecture คืออะไร

จากการเปลี่ยนแปลงกระบวนการกำกับดูแลและพัฒนาองค์กรให้ตอบสนองต่อความต้องการและการแข่งขันทางด้านธุรกิจจึงได้มีการนำ Enterprise Architecture ซึ่งเป็นกระบวนการกำกับการพัฒนาด้าน IT ขององค์กรและ AGILE ที่เป็นวิธีการทำงานสำหรับการเปลี่ยนเปลี่ยนที่มีความรวดเร็วมารวมเข้าด้วยกันเป็นแนวคิดของ AGILE Enterprise Architecture (AGILE EA)...

เรื่องเข้าใจผิดที่คนทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ต้องรู้❗EP.3

                  ❓ MYTH: การทำ EA คือ Enterprise IS/IT Architecture ✅ REALITY: การทำ EA ต้องมีการกำกับดูแลที่ดี และได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนขององค์กร 🟧 SUSTAINABILITY: EA Governance เป็นการกำกับดูแลกระบวนการพัฒนา ต่อยอด และใช้งาน EA ให้เป็นปัจจุบันและยั่งยืน For more information 📞 Tel: 02-247-7229 📧 email: sm@merlinssolutions.com...

งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1

 งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1 เมื่อวันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565 บริษัท เมอร์ลินส์ โซลูชั่นส์ อินเตอร์แนชั่นนัล จำกัด ร่วมกับ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1 เพื่อให้คณะทำงานได้รับทราบถึงความพร้อมและสถานะของการพัฒนาชุมชนต่อการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร โดยมีผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน นายสุธีธ์ มั่งมี ได้ให้เกียรติกล่าวเปิดการประชุมและเน้นย้ำข้อสั่งการของอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนในการขับเคลื่อนสถาปัตยกรรมองค์กรของกรมการพัฒนาชุมชนเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนกรมการพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป [layerslider id="15"]   สนใจข้อมูล/บริการเพิ่มเติมติดต่อ 022477229   e-Mail : sm@merlinssolutions.com ...

เรื่องเข้าใจผิดที่คนทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ต้องรู้❗EP.2

                ❓ MYTH: EA รับผิดชอบจัดทำโดยหน่วยงาน IT ✅ REALITY: Enterprise IS/IT Architecture เป็นการจัดทำรายละเอียดของการพัฒนาระบบ IT ในระดับโครงสร้าง แต่ EA เป็นการแสดงโครงรูปองค์ประกอบหลัก ว่าธุรกิจส่วนใด ใช้ระบบ IT อะไร ❓ MYTH: EA สามารถทำได้เสร็จสิ้นในโครงการเดียว ✅ REALITY: EA เป็น Life Cycle ที่ต้องมีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์กร For more information 📞 Tel: 02-247-7229 📧 email: sm@merlinssolutions.com...

เรื่องเข้าใจผิดที่คนทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ต้องรู้❗EP.1

  ❓ MYTH: การทำ EA คือ IT Portfolio ✅ REALITY: การทำ EA การเขียนแบบเพื่อแสดงโครงรูปองค์ประกอบหลัก และความสำคัญของธุรกิจและ IT แต่ IT Portfolio แสดงถึงรายละเอียดของการพัฒนาการสร้างระบบ หรือเปรียบเสมือน BOM ❓ MYTH: การทำ EA คือ Digital Roadmap ✅ REALITY: การทำ EA จะใช้ Digital Roadmap เป็นข้อมูลตั้งต้น ในการกำหนดทิศทาง To-be Architecture For more information 📞 Tel: 02-247-7229 📧 email: sm@merlinssolutions.com ...

การกำกับดูแลสถาปัตยกรรมองค์กร (EA Governance) คืออะไร? และองค์กรได้ประโยชน์อะไรจากการทำ?

การกำกับดูแลสถาปัตยกรรมองค์กร (EA Governance) คืออะไร? และองค์กรได้ประโยชน์อะไรจากการทำ? โดยอาจารย์กำพล ศรธนะรัตน์ กรรมการ และประธานอนุกรรมการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)  ...

ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรในการขับเคลื่อนมุ่งสู่องค์กรดิจิทัล

ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ในการขับเคลื่อนมุ่งสู่องค์กรดิจิทัล (Digital Transformation) โดยอาจารย์กำพล ศรธนะรัตน์ กรรมการ และประธานอนุกรรมการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ...

การจัดประชุมเพื่อนําเสนอผลการจัดทําสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)

          เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรม TK. PALACE HOTEL & CONVENTION ทางบริษัทฯ ได้จัดประชุมเพื่อนําเสนอผลการจัดทําสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)

Enterprise Architecture Framework

“สถาปัตยกรรมองค์กร” หรือ “Enterprise Architecture (EA)” คือ การจัดทำแผนผัง หรือแผนที่ในภาพรวมขององค์กร ในบทความนี้ผู้เขียนอยากให้ทราบถึงความหมายและความสำคัญของการจัดทำ EA เพื่อให้หน่วยงานของท่านเตรียมพร้อมสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เพื่อให้เข้าใจ EA ง่ายขึ้น ลองนึกถึงภาพจิ๊กซอว์เปรียบดังการทำงานอย่างหนึ่ง หรือระบบงานหนึ่ง  องค์กรทั่วไปที่ไม่ได้จัดทำ EA จะมีการทำงานเป็นแบบ Silo หรือต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ เปรียบเทียบดังภาพจิ๊กซอว์ด้านซ้ายที่มีการกระจัดกระจายของระบบ  เทียบกับองค์กรที่มีการจัดทำ EA  ดังภาพจิ๊กซอว์ด้านขวา ที่มีแผนผังจิ๊กซอว์แสดงถึงการเชื่อมโยงของแต่ละระบบงาน เพื่อบอกว่าจิ๊กซอว์ตัวไหนควรจะเชื่อมต่อกับจิ๊กซอว์ตัวอื่น ๆ ในผังตรงตำแหน่งใด อย่างไร ถึงจะไม่กระทบกับระบบงานอื่น ซึ่งหากองค์กรของท่านมีการจัดทำ EA ก็จะทำให้สามารถมองภาพรวมขององค์กร อีกทั้งยังง่ายต่อการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ EA ประกอบไปด้วย 2 สถาปัตยกรรมหลัก คือ สถาปัตยกรรมธุรกิจ (Business...

องค์ประกอบของสถาปัตยกรรมองค์กร หรือ Enterprise Architecture

Enterprise Architecture (EA)   EA ก็เหมือนการสร้างแบบแปลนบ้านซึ่งก่อนจะลงมือสร้างบ้าน เจ้าของบ้านจะต้องบอกความต้องการ อาทิ รูปแบบของบ้าน งบประมาณ ให้กับสถาปนิกทราบเพื่อดำเนินการออกแบบบ้านวาดแปลน และสร้างแบบจำลองบ้านให้กับเจ้าของบ้านเพื่อนำไปสร้างต่อไป เช่นเดียวกันกับการพัฒนา EA ที่จะต้องจัดทำให้สามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจ  โดยอาศัย Model และ Diagram ต่าง ๆเข้ามาเพื่อให้เห็นภาพขององค์กรที่ชัดเจนขึ้นไม่ว่าจะเป็นในแง่ของกระบวนการการทำงานข้อมูล ระบบสารสนเทศ และปัจจัยพื้นฐานต่าง ๆ โดยในอนาคตหากองค์กรต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง EA ก็เป็นข้อมูลสำคัญที่จะให้องค์กรทราบว่าหากมีการพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มเติมรายละเอียดส่วนประกอบขององค์กรจะมีผลกระทบต่ออะไรบ้าง และจะต้องทำอย่างไรให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด   Business Architecture: เป็นโครงสร้างด้านธุรกิจขององค์กร โดยเป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจขององค์กร ภารกิจหลักที่สนับสนุนเป้าหมายขององค์กร กระบวนการทำงานที่สนับสนุนภารกิจหลัก และความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจหลัก รวมถึงปัญหาและโอกาสของการดำเนินธุรกิจ   Data Architecture: เป็นโครงสร้างด้านข้อมูลขององค์กร โดยเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่สนับสนุนภารกิจหลัก และกระบวนการทำงาน รวมถึงความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างภารกิจหลัก   Application Architecture: เป็นโครงสร้างด้านระบบสารสนเทศ โดยเป็นการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนภารกิจหลัก และกระบวนการทำงาน กำหนดสถาปัตยกรรมของระบบสารสนเทศ กำหนดแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ ประเมินความสมบูรณ์ของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน...