Merlin's Solutions International | admin
1
bp-legacy,archive,paged,author,author-admin,author-1,paged-5,author-paged-5,ajax_fade,page_not_loaded,,qode-theme-ver-9.1.2,wpb-js-composer js-comp-ver-4.9.2,vc_responsive

Author: admin

งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1

 งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1 เมื่อวันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม 2565 บริษัท เมอร์ลินส์ โซลูชั่นส์ อินเตอร์แนชั่นนัล จำกัด ร่วมกับ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดกระบวนการวิเคราะห์และจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กรในอนาคต (To-Be Enterprise Architecture) ครั้งที่ 1 เพื่อให้คณะทำงานได้รับทราบถึงความพร้อมและสถานะของการพัฒนาชุมชนต่อการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร โดยมีผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน นายสุธีธ์ มั่งมี ได้ให้เกียรติกล่าวเปิดการประชุมและเน้นย้ำข้อสั่งการของอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนในการขับเคลื่อนสถาปัตยกรรมองค์กรของกรมการพัฒนาชุมชนเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนกรมการพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป [layerslider id="15"]   สนใจข้อมูล/บริการเพิ่มเติมติดต่อ 022477229   e-Mail : sm@merlinssolutions.com ...

เรื่องเข้าใจผิดที่คนทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ต้องรู้❗EP.2

                ❓ MYTH: EA รับผิดชอบจัดทำโดยหน่วยงาน IT ✅ REALITY: Enterprise IS/IT Architecture เป็นการจัดทำรายละเอียดของการพัฒนาระบบ IT ในระดับโครงสร้าง แต่ EA เป็นการแสดงโครงรูปองค์ประกอบหลัก ว่าธุรกิจส่วนใด ใช้ระบบ IT อะไร ❓ MYTH: EA สามารถทำได้เสร็จสิ้นในโครงการเดียว ✅ REALITY: EA เป็น Life Cycle ที่ต้องมีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์กร For more information 📞 Tel: 02-247-7229 📧 email: sm@merlinssolutions.com...

เรื่องเข้าใจผิดที่คนทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ต้องรู้❗EP.1

  ❓ MYTH: การทำ EA คือ IT Portfolio ✅ REALITY: การทำ EA การเขียนแบบเพื่อแสดงโครงรูปองค์ประกอบหลัก และความสำคัญของธุรกิจและ IT แต่ IT Portfolio แสดงถึงรายละเอียดของการพัฒนาการสร้างระบบ หรือเปรียบเสมือน BOM ❓ MYTH: การทำ EA คือ Digital Roadmap ✅ REALITY: การทำ EA จะใช้ Digital Roadmap เป็นข้อมูลตั้งต้น ในการกำหนดทิศทาง To-be Architecture For more information 📞 Tel: 02-247-7229 📧 email: sm@merlinssolutions.com ...

Hyperautomation The Seires EP1. Hyperautomation คืออะไร? สำคัญต่อองค์กรอย่างไร?

 [layerslider id="14"]       ถ้าธุรกิจหรือองค์กรต้องการที่จะทำให้ “ลูกค้า” หรือ “ผู้รับบริการ” ประทับใจในการให้บริการของตน คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเข้าใจใน “พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย” ว่ามีพฤติกรรมเป็นเช่นไร เพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมนั้น ๆ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และด้วยความต้องการ ที่จะเข้าใจพฤติกรรมดังกล่าวจึงได้มีผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องออกมาอย่างหลากหลาย เช่น งานวิจัยความต้องการด้านการ Communicate สถานะต่าง ๆ ตลอดเวลา งานวิจัยด้านการให้บริการ ที่ออกแบบมาเพื่อลูกค้าแต่ละคนโดยเฉพาะ งานวิจัยด้านตัดสินใจ ของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา และจากที่กล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า “การให้บริการรวดเร็วและยืดหยุ่นได้” จะเป็นเป้าหมายหลักที่ธุรกิจหรือองค์กรต้องให้ ความสำคัญอันดับหนึ่ง เพราะถ้าสามารถทำได้ก็สามารถรองรับพฤติกรรมเกือบทั้งหมดได้ การเชื่อมต่อเทคโนโลยีเพื่อการบริการแบบไร้รอย Hyperautomation ถูกนำเสนอเริ่มแรกในปี 2019 ตัวอย่างเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องเช่น AI, RPA, integration Platform As A Service, Low-Code/No-Code Tools และแน่นอนที่ขาดไม่ได้คือการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการทำงานหรือ...

การกำกับดูแลสถาปัตยกรรมองค์กร (EA Governance) คืออะไร? และองค์กรได้ประโยชน์อะไรจากการทำ?

การกำกับดูแลสถาปัตยกรรมองค์กร (EA Governance) คืออะไร? และองค์กรได้ประโยชน์อะไรจากการทำ? โดยอาจารย์กำพล ศรธนะรัตน์ กรรมการ และประธานอนุกรรมการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)  ...

ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรในการขับเคลื่อนมุ่งสู่องค์กรดิจิทัล

ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ในการขับเคลื่อนมุ่งสู่องค์กรดิจิทัล (Digital Transformation) โดยอาจารย์กำพล ศรธนะรัตน์ กรรมการ และประธานอนุกรรมการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ...

AI: The Series “Explainable AI” ภาพรวมของ Algorithms ต่าง ๆ ที่มีในปัจจุบันและประเด็นที่น่าสนใจ

"Explainable AI" ภาพรวมของ Algorithms ต่าง ๆ ที่มีในปัจจุบันและประเด็นที่น่าสนใจ 1. ทำไมถึงเอาทั้ง Explainability และ Accuracy ไม่ได้?             ปัจจุบันยังไม่มี ML Algorithm ไหนที่ให้ได้ทั้งความสามารถด้าน Explainability และ Accuracy ได้ในเวลาเดียวกัน เพราะเวลาที่เรา “อธิบาย”จะใช้สิ่งที่มองได้ว่าเป็น “Attribute” ในประโยค เช่น “ลูกค้าไม่ผ่านสินเชื่อเพราะรายได้เมื่อเทียบกับหนี้สินแล้วไม่ผ่านเกณฑ์” ในคำอธิบายนี้มี Attribute ที่น่าสนใจคือ “รายได้” และ “หนี้สิน” ซึ่ง ML ที่ใช้ข้อมูลที่มี attribute ที่คนเข้าใจได้ลักษณะนี้สามารถอธิบายได้ แต่ ML เช่น...

Explainable AI

        ระบบ AI แฝงอยู่ในหลายระบบที่เราใช้งานตั้งแต่ตื่นขึ้นมาจนเข้านอน เช่น เริ่มตั้งแต่ตื่นขึ้นมาเราคว้า Social Media ขึ้นมาดูว่ามีประเด็นอะไรน่าสนใจในวันนี้ ระบบ Social Media เกือบทุกระบบมีการนำ AI algorithms มาใช้ เราขับรถไปทำงานด้วยการนำทางของ Maps ระบบการตรวจสอบใบหน้าก่อนเข้าไปที่ทำงานหรืออาคารต่าง ๆ Software ทั่ว ๆ ไปที่เราใช้สร้าง/อ่านเอกสารในขณะที่ทำงาน ไปจนถึงถ้าใครทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ในสถาบันการเงินก็อาจมีระบบช่วยในการตัดสินใจที่จะอนุมัติ/ปฏิเสธ Application ต่าง ๆ ระบบ AI ที่ช่วยตรวจจับการทุจริต ถ้าเป็นคุณหมอก็อาจมีระบบที่ช่วยในการพิจารณาฟิล์ม X-Ray เป็นต้น       ลองนึกเล่น ๆ ครับว่าเราใช้งานระบบ ๆหนึ่ง แล้วระบบเสนอคำตอบหรือแนะนำอะไรมา ในบาง...

Ecosystem ที่ระบบ AI ต้องการ

        โดยทั่วไปแล้ว ecosystem ในองค์กรนั้นประกอบไปด้วยสิ่งที่จับต้องได้และไม่ได้ การจัดกลุ่มของส่วนประกอบต่าง ๆ สามารถจัดกลุ่มได้หลายรูปแบบอยู่ที่ Framework หรือมุมมองไหนจะเน้นเรื่องอะไร จากแนวคิดของ Enterprise Architecture (EA) เราก็จะได้ว่าองค์ประกอบหลัก ๆ ของ Ecosystem ขององค์กรนั้นประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลัก ๆ คือ วิสัยทัศน์ขององค์กร ส่วนประกอบด้านธุรกิจ ด้านข้อมูล ด้านระบบสารสนเทศ และด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึงระบบพื้นฐานขององค์กร จากบทความที่ผ่านมาที่กล่าวถึงความ AI และ EA บทความนี้เรามาเจาะลึกเข้าไปใน Ecosystem ขององค์กรโดยใช้ EA เป็นกรอบแนวคิดกันครับ         Strategic – จาก Vision...

AI กับ Digital Transformation

        การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วกับธุรกิจ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา รวมถึงการที่ความสามารถในการรอรับสินค้าหรือบริการของผู้บริโภคที่ลดลงอย่างมาก ต้องการอะไร อยากได้อะไรต้องได้ทันที หรือถ้าจะต้องรอการให้บริการก็ต้องการที่จะรู้ตลอดเวลาว่าสิ่งที่ตนต้องการนั้นได้ดำเนินการไปถึงไหนแล้วอย่างไร การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นหนึ่งในเหตุผลสำคัญที่นำไปสู่กระแสการนำแนวคิดของการทำ Digital Transformation หรือการใช้เทคโนโลยี Digital มาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของสินค้า/บริการที่มีอยู่ของธุรกิจ ไปจนถึงออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนโดยการใช้เทคโนโลยี Digital โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีและระบบที่ทำงานหรือให้บริการลูกค้าได้อย่างอัตโนมัติในลักษณะที่ใกล้เคียงกับคำว่า Anytime Anywhere มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จากความต้องการดังกล่าวที่ต้องการการทำงานแบบอัตโนมัติให้มากที่สุด และถ้าเป็นไปได้ให้บริการ 24 ชั่วโมง จึงทำให้การนำเทคโนโลยี Artificial Intelligence (AI) มาใช้กับ Digital Transformation หรือการปรับปรุง/พัฒนา สินค้าและบริการใหม่นั้นถูกพูดถึงอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้การวิจัยจำนวนมากที่เกิดขึ้นทั่วโลกก็ได้ยืนยันไปในทางเดียวกันว่าผลกระทบทางเศรษฐกิจทั่วโลกของการมาของ AI นั้นสูงมาก ๆ ตัวอย่างเช่น The Wall Street Journal คาดการณ์ว่าจากวันนี้ถึงปี คศ....